วันพุธที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

กรณีศึกษา ...งานกลุ่ม

งานกลุ่ม เรื่อง กรณีศึกษา



กรณีศึกษา บทความเรื่อง Co-Opettition
บริษัท ดีเทคและเอไอเอส มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสร้างตลาด co-marketing ร่วมกัน โดยใช้ความสัมพันธ์ในลักษณะกัลยาณมิตรที่ในอนาคตความเจริญก้าวหน้าของข้อมูลจะเพิ่มขีดความสามารถมากขึ้นในการติดต่อสื่อสาร ดัง นายกฤษณัน งามผาติพงษ์ รองกรรมการอำนวยการสายงานการตลาด บมจ.แอดวานซ์อินโฟร์ เซอร์วิส (เอไอเอส) กล่าวว่า โลกหลังสังคมฐานความรู้เป็นโลกที่ปรับเปลี่ยนรูปแบบปฏิสัมพันธ์ของผู้คนจากต่างคนต่างปิดไปสู่ต่างคนต่างเปิด เป็นโลกที่ก้าวเลยความคิดการแข่งขันไปสู่การร่วมรังสรรค์พาณิชย์ เป็นโลกแห่งความอิสระอาศัยซึ่งกันและกันซึ่งกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ดังนั้น ทั้ง 2 กรณี จะเป็นภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องที่เน้นเรื่องส่วนร่วมมากกว่าเรื่องส่วนตัว ส่วน ดร.สุวิทย์ ชี้ว่าโลกหลังสังคมฐานความรู้เป็นโลกที่สะท้อนคุณค่าของความเป็นสังคมเสรีภาพ การติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายทำให้วัฒนธรรมหาแต่สังคม เกิดการปรับเปลี่ยนสู่วัฒนธรรมที่เป็นประชาธิปไตยและวัฒนธรรมที่ประชาชนมีส่วนร่วม ดังนั้น จึงแสดงให้เห็นว่าการทำธุรกิจที่เกิดจากสภาพแวดล้อมทางสังคมที่ถดถอยและพื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจต่ำลง จึงจำเป็นที่บริษัทจะต้องนำเทคโนโลยีมาใช้ควบคู่กับการเยียวยา โดยอาศัยความคิดเพื่อให้เกิดปัญญา ดังคำกล่าวที่ว่า ทรัพย์สินทางปัญญาสู่ภูมิปัญญามหาชน
นายซิคเว่ เบรคเก้ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารร่วมและ บมจ.โทเทิ่ล แอ็คแซ็ส คอมมูนิเคชั่น (ดีเทค) กล่าวว่า เอไอเอส กับ ดีเทค เป็นเพียงกลไกพื้นฐานของธุรกิจของธุรกิจในขณะนี้ ยังไม่ใช่ Co-Opettition เป็นเพียงการเชื่อมต่อ Voice และเปิดให้ใช้ SMS ข้ามเครือข่าย ถ้าไม่ทำอุสาหกรรมนี้ก็จะไม่พัฒนาหรือวันข้างหน้าก็ต้องเชื่อมต่อระบบกับผู้ให้บริการค่ายอื่นๆ ที่มีระบบ MMS

สมาชิกกลุ่ม
1. นางสาวรมฤดี เกษแก้ว เลขที่ 3
2. นางสาววิภา พิมพ์ดี เลขที่ 5
3. นางสาวอนุสรา สายธนู เลขที่ 7
4. นางสาวอัจฉรา ชัยภา เลขที่ 9