วันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

แก้ข้อ 1 GIGO มาจากคำเต็ม

GIGO  มาจากคำเต็มว่าอะไร โดยนิยามดังกล่าว ต้องมุ่งเน้นถึงสิ่งใดเป็นสำคัญ
 ตอบ กิโก <คำอ่าน>ย่อมาจาก garbage in , garbage out พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถานแปลว่า เข้าผิด ออกผิด แต่ถ้าแปลตามตัวจะได้ว่า ขยะเข้า ขยะออก เป็นคำกล่าวที่ใช้เตือนสติผู้ใช้คอมพิวเตอร์ว่า ถ้าใส่ข้อมูลที่ไร้คุณค่าลงไปในเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องก็มิอาจจะทำให้ข้อมูลนั้นมีค่าขึ้นมาได้เลย อีกนัยหนึ่ง เป็นการบอกให้นักคอมพิวเตอร์มือใหม่รู้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หาใช่สิ่งมหัศจรรย์ที่จะเนรมิตข้อมูลเลว ๆ ให้เป็นสารสนเทศ (information) ดี ๆ ได้ ถ้าใส่ขยะ (ข้อมูลเลว ๆ) เข้าไป ก็จะได้ขยะ (สารสนเทศเลว ๆ ) ออกมา
โดยนิยามดังกล่าว ต้องการมุ่งเน้นถึงสิ่งใดเป็นสำคัญ
ตอบ  มุ่งเน้นผู้บริโภคคอมพิวเตอร์ คือ มนุษย์นำข้อมูลนำเข้าที่เกิดประโยชน์ไม่ส่งผลเสียทำให้เกิดไวรัสเผยแพร่และสร้างปัญหาแก่ผู้อื่น

แบบฝึกหัด

1. 6160 มาจากคำเต็ม ว่าอะไร โดยนิยามดังกล่าวต้องการมุ่งเน้นถึงสิ่งใดเป็นสำคัญ
ตอบ  

ผลิตภัณฑ์ Océ VarioPrint 6160 เครื่องพิมพ์ความเร็วสูงสำหรับการพิมพ์งานปริมาณมาก

ผลิตภัณฑ์ Océ VarioPrint 6160 Ultra, TP และ MICR คือระบบการพิมพ์ดิจิทัลสมบูรณ์แบบที่ทรงประสิทธิภาพที่สุดในตลาดการพิมพ์งานปริมาณมาก ด้วยเทคโนโลยี โอเซ่ เจมีไน (Océ Gemini Instant Duplex) ช่วยยกระดับความเร็วในการพิมพ์งานขาวดำอย่างที่ไม่เคยมีใครทำมาก่อน ด้วยความเร็วสูงเป็นพิเศษบวกกับประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ที่ได้มาตรฐาน มืออาชีพในแวดวงการพิมพ์สามารถพิมพ์งานได้มากขึ้น และใช้เวลาในการพิมพ์เร็วกว่าเดิม ช่วยให้คุณมีกำไรมากขึ้นในการทำตลาดใหม่ๆ เช่น การพิมพ์หนังสือดิจิทัล สามารถขยายการให้บริการ ยิ่งไปกว่านั้นยังลดต้นทุนค่าใช้จ่ายและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอีกด้วย. ผลลัพธ์คือข้อเสนอที่มีแต่กำไร สร้างผลกำไรให้ธุรกิจ สร้างโอกาส สร้างทรัพยากรที่คุ้มค่าและคุ้มครองการลงทุนของคุณ

จุดประกายความเร็วสุดขีด ด้วยศักยภาพการพิมพ์ 2 หน้า

  • เทคโนโลยีเฉพาะ โอเซ่ เจมีไน (Océ Gemini Instant Duplex)
  • สัมผัสความเร็วสุดขีดด้วยระบบพิมพ์ 2 หน้า (Duplex) ในเวลาเดียวกัน
  • สามารถอัพเกรดความเร็วในการพิมพ์ได้ (ชั่วคราวหรือถาวร)
  • จัดตำแหน่งกระดาษได้เที่ยงตรงแม่นยำ จัดเนื้อหาการพิมพ์หน้า-หลังกระดาษ (Registration) ตรงกันทุกจุด
  • คุณภาพงานพิมพ์สวยสะดุดตาเทียบเท่างานพิมพ์ออฟเซต
  • พิมพ์ได้นานต่อเนื่องถึง 4 ชั่วโมง
  • เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
  • เทคโนโลยี โอเซ่ เจมีไน (Océ Gemini) รองรับการผลิตงานปริมาณมาก
Océ VarioPrint 6160 เป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์กลุ่ม Océ VarioPrint 6000 Ultra, TP และ MICR Lines ซึ่งทำงานด้วยเทคโนโลยี Océ Gemini ผลิตภัณฑ์ในกลุ่มนี้มีความเร็วต่างกัน สามารถอัพเกรดความเร็วได้ถึง 4 ระดับ ตั้งแต่ความเร็วในการพิมพ์ 170 - 314 หน้า A4/Letter ต่อนาที และ 155 หน้า A3/12 x 18 นิ้วต่อนาที เครื่องพิมพ์ที่เร็วที่สุดในขณะนี้คือ Océ VarioPrint 6320 Ultra ซึ่งเร็วกว่าOcé VarioPrint 6250 ถึง 25% และเร็วกว่าผลิตภัณฑ์คู่แข่งเกือบ 70% คุณสมบัติเหล่านี้เองที่ทำให้ Océ VarioPrint 6320 Ultra เป็นผลิตภัณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับงานพิมพ์ 2 หน้าเวลาเดียวกันที่พิมพ์ต่อเนื่องยาวนาน
เทคโนโลยี Océ Gemini คือเทคโนโลยีการทำภาพ 2 หน้าในเวลาเดียวกัน กระดาษจะถูกป้อนผ่านทางเดินกระดาษครั้งเดียว และเครื่องจะพิมพ์กระดาษทั้ง 2 ด้านในเวลาเดียวกัน ผลลัพธ์คือเครื่องสามารถพิมพ์ได้เร็วและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น คุณสามารถนำเสนองานได้หลากหลายประเภทให้แก่ลูกค้าได้ด้วยผลิตภัณฑ์ในตระกูล Océ VarioPrint 6000 Ultra, TP และ MICR Lines เนื่องจากเครื่องพิมพ์มีความเร็วสูงที่สุดในท้องตลาด คุณภาพการพิมพ์ใกล้เคียงงานพิมพ์ออฟเซต อีกทั้งการจัดตำแหน่งเนื้อหาที่พิมพ์ทั้งด้านหน้า-หลังมีความเที่ยงตรงแม่นยำ Océ VarioPrint 6000 Ultra เป็นเครื่องพิมพ์ 2 หน้าในเวลาเดียวกันที่เร็วที่สุดและมีประสิทธิภาพในการผลิตสูงที่สุดในท้องตลาด

2. การที่องค์กรหรือภาคธุรกิจ ทั่วไปในปัจจุบันนิยมนำระบบสารสนเทสมาใช้งานกันมากขึ้นและสามารถเป็นเจ้าของระบบสารสนเทศกันง่ายขึ้นสืบเนื่องมาจากสาเหตุใด ยกตัวอย่างประกอบ
ตอบ สืบเนื่องมาจากสาเหตุการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยของมนุษย์ในปัจจุบันมีการประยุกต์ไอทีอยู่ตลอดเวลามีการอำนวยความสะดวกตามหน้าที่งานทั้งด้านปฏิบัติการและด้านสนับสนุนการตัดสินใจ เช่น คอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความจำเป็นมากในปัจจุบันเพราะทุกหน่วยงานมักมีไว้เพื่อใช้งานและประหยัดแรงงานคนในการดำเนินงาน อีกทั้งยังมีอินเตอร์เน็ตเป็นตัวช่วยในการสืบค้นหาข้อมูลที่มีความรวดเร็วและสะดวกสบายยิ่งขึ้น

3. อยากทราบว่าเหตุผล 3 ประการที่ธุรกิจต่างก็นำระบบสารสนเทศมาใช้ในองค์กร มีอะไรบ้าง
ตอบ  
  1. องค์กรเจริญก้าวหน้า
  2. ทำให้งานไม่ซ้ำซ้อน
  3. ปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปได้
4. ให้ยกตัวอย่างที่บอกถึงกิจการที่ปรับปรุงกระบวนการธุรกิจใหม่ ด้วยการนำสิ่งใดมาประยุกต์ใช้
ตอบ 
1. งานสื่อสารสารสนเทศด้วยภาพและเสียง เช่น ระบบมัลติมีเดีย ระบบการประชุมทางไกลด้วยภาพและเสียง เป็นต้น
2. การใช้งานในห้องปฏิบัติการ การใช้งานร่วมกับอุกรณ์เครื่องมือต่างๆ เช่น การจำลองแบบ การออกแบบวงจรไฟฟ้า การควบคุม การทดลอง เป็นต้น

สรุปบทที่3 เรื่องการพัฒนาระบบสารสนเทศ

สรุปบทที่  3   การพัฒนาระบบสารสนเทศ
                การวางแผนระบบสารสนเทศ
                1.แนวคิด
                การวางแผนระบบสารสนเทศคือการคาดการณ์ผลลัพธ์ของการนำระบบสารสนเทศมาใช้เพื่อประกอบการดำเนินงานทางธุรกิจ
                2.กลยุทธ์ธุรกิจ
                การวางแผนระบบสารสนเทศมีความใกล้ชิดกับกลยุทธ์ธุรกิจ(Business Strategy) ซึ่งถูกบัรรจุเป็นสัญลักษณ์อักษรเป็นกลยุทธ์ขององค์การ
                2.1 ความหมาย  “กลยุทธ์”จะหมายถึงศาสตร์หรือศิลป์ที่ใช้ในการบังคับบัญชากองทัพ  ในเวลาต่อมา“กลยุทธ์”ไปใช้ในหลากหลายแนวทาง โดยเฉพาะในส่วนการดำเนินรุกของธุรกิจภายใต้ข้อจำกัดของสภาพล้อมภายนอก
                2.2การกำหนดกลยุทธ์ธุรกิจ
                ธุรกิจที่ประผลสำเร็จต้องการส่งมอบสินค้าที่มีคุณภาพหรือสินค้าราคาต่ำ หรือทั้งสองอย่างให้กับลูกค้า
                3.กระบวนการวางแผน
                ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์
                ขั้นตอนที่ 2 การวางแผนสิ่งแวดล้อม
                ขั้นตอนที่ 3 การจับประเด็นกลยุทธ์
                ขั้นตอนที่ 4 การกำหนดนโยบาย
                4.การวางแผนเชิงกลยุทธ์
                ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดภาระหน้าที่ของหน่วยงานสารสนเทศ
                ขั้นตอนที่ 2 การประเมินภาระแวดล้อม
                ขั้นตอนที่ 3 การกำหนดวัตถุประสงค์
                ขั้นตอนที่ 4 การกำหนดแนวทางกลยุทธ์
                ขั้นตอนที่ 5 การกำหนดนโยบายสารสนเทศ
                ขั้นตอนที่ 6 การสร้างแผนระยะยาวและระยะสั้น
                                1 .แผนระยะยาว   เป็นแผนที่ใช้ในช่วงเวลา   3-5 ปีข้างหน้า
                                2. แผนระยะสั้น   เป็นแผนงานที่ใช้ในช่วงเวลา   1-2 ปีข้างหน้า
                ขั้นตอนที่ 7 การดำเนินการตามแผนระยะสั้นและระยะยาวที่วางไว้
               


การเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
                2 หัวข้อคือ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน รวมทั้งแนวโน้มเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
                1.การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน
                ซึ่งที่นิยมนำมาใช้ในธุรกิจ ซึ่งปกติองค์กรธุรกิจสมัยใหม่มีการใช้เทศโนโลยีสารสนเทศทั้งในด้านการติดต่อสื่อสารและการไหลเวียนข้อมูลผ่านระบบเครือข่าย อันส่งผลให้มีการปรับโครงสร้างองค์การให้แบนราบและลดระดับชั้นของการจัดการลงเพื่อประโยชน์ทางด้านสื่อสาร
                1.1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
                1.2 เทคโนโลยีฐานข้อมูล
                1.3 เทคโนโลยีคอมเมิร์ช
                1.4 เทคโนโลยีทางด้านการชำระหนี้ค่าสินหรือบริการ
                1.5 เทคโนโลยีด้านความมั่นคงของระบบข้อมูล
                1.6 เทคโนโลยีการทำดิจิทัลให้เหมาะที่สุด
                1.7 เทคโนโลยีไร้สาย
                1.8 เทคโนโลยีสำนักงานเสมือน
                1.9 เทคโนโลยีระบบประยุกต์ด้านการสื่อสาร
                2.แวนโน้มเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
                Turban et al. ( 2006 , p. 27) ได้ระบุแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต ซึ่งผู้บริหาร ขององค์การควรคำนึง เพื่อทำการคัดเลือกเทคโนโลยีสารสนเทศซึ่งจะใช้ระบบสารสนเทศที่กำหนดได้รับการพัฒนา ทั้งในปัจจุบันและในอนาคต
                2.1ชิป   ปัจจุบันได้ปรับปรุงประสิทธิภาพของหน่วยเก็บควบคุมไปกับใช้คอมพิวเตอร์
                2.3 สภาพแวดล้อมเชิงอ็อบเจกต์   เป็นวัตกรรมใหม่ในส่วนการเขียนโปรแกรมและการใช้คอมพิวเตอร์ โดยส่งผลให้มีการลดต้นทุนการเขียนโปรแกรม
                2.4 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ซ่อมบำรุงด้วยตนเอง   ได้มีการพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ชื่อ เอลิซา ซึ่งมีความสามารถในคำนวณด้วยความรวดเร็ว
                2.5คอมพิวเตอร์แบบควอนตัม   มีการศึกษาค้นคว้า ซึ่งนำไปสู่การผลิตการผลิตหน่วยคำนวณที่เล็ก และหากการค้นคว้านี้ประสบสำเร็จ
                2.6นาโนเทคโนโลยี ในอนาคต อาจมีการผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประกอบจากโมเลกุที่ มีความเร็วสูงสุด ซึ่งโครสร้างแบบครัตัสมีขนาดเล็ก
               


การได้มาซึ่งระบบสารสนเทศ
                1.การจัดซื่อซอฟแวร์เชิงพาณิชย์
                รูปแบบที่ 1 ระบบพร้องสรรพ (Turnkey System)
                วอฟแวร์ ที่ได้รับการพัฒนาอย่างเสร็จสมบูรณ์ และผ่านการทดสอบดปรแกรมเรียบร้อยแล้ว
                รูปแบบที่ 2 ระบบแกนหลัก (Outsourcing)
                วอฟแวร์ประกอบด้วยโครงสร้างของระบบพื้นฐาน   
                2.การใช้บริการภายนอก
                เป็นรูปแบบของการจัดจ้างองค์การภายนอกให้ทำการพัฒนาซอฟแวร์เชิงพาณิชย์มักจัดอยู่ในรูปแบบของระบบสนับสนุนจากผู้ขายซอฟแวร์เชิงพาณิชย์ที่ถูกสั่งทำขึ้น โดยผ่านการออกแบบ การทำให้เกิดผลและการบำรุงรักษาซอฟแวร์ที่สนองตอบความต้องการของลูกค้า
                3.การพัฒนาระบบขึ้นใช้งานในองค์การเอง
                การพัฒนาระบบ
                แนวทางหนึ่งของการได้มาซึ่งระบบสารสนเทศ เพื่อใช้ในองค์การถือเป็นแนวทางที่อาจใช้เงินลงทุนและช่วงเวลาในการพัฒนาระบบค่อนข้างสูง ภายในองค์การเองแต่ระบที่ได้มักตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด ในส่วนนี้จะกล่าวถึงหัวข้อย่อย 3 หัวข้อ  ระเบียบวิธีพัฒนาระบบ  วัฏจักรการพัฒนาระบบ
วิศวกรรมสารสนเทศ
                4.ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาระบบ
                4.1 กลยุทธ์ของธุรกิจ   ธุรกิจทำการกำหนดกิจกรรมการทำงานของระบบสารสนเทศให้มีความสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ด้านระบบสารสนเทศและแผนกลยุทธ์ของธุรกิจ
                4.2 เทคโนโลยีสารสนเทศ มีผลกระทบที่มักเกิดจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างต่อเนื่อง
                4.3วัฒนธรรมองค์การ  ในการปรับเปลี่ยนกระบวนการทำงาน ที่อาจส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมการทำงาน
                เทคนิคใช้ภาพกระแสข้อมูล
                1.สัญลักษณ์ที่ใช้สร้างแผนภาพ 
                นิยมใช้สัญลักษณ์ที่ถูกคิดค้นโดย 2 กลุ่ม บุคคลซึ่งนำมากำหนดเป็นมาตรฐานแผนภาพกระแสข้อมูล ดังนี้
                1.1 มาตรฐานของเกนและซาร์สัน ( Gane & sarson )
                1.2 มาตรฐานของดีมาร์โคและโยร์ดอน (Demarco & Yourdon)
                2.ระดับของแผนภาพ
                จะไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนตายตัวแบ่งออก 3 ระดับ
                ระดับที่ 1 แผนภาพบริบท (Context Diagram) โครงสร้างเริ่มแรกซึ่งเสดงให้ภาพรวมและขอบเบตของระบบงาน
                ระดับที่ 2 แผนภาพระดับหนึ่ง (First-level Diagram) โครงสร้างที่ใช้อธิบาย รายละเอียดของแผนภาพบริบทเปรียบเสมอกล่องดำ
                ระดับที่
3  แผนภาพระดับสอง (Second-level Diagram) โครงสร้างที่อธิบายในรายละเอียดของแผนภาพระดับหนึ่ง

                การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ
            1.แนวคิด
               ธุรกิจจึงมีความจำเป็นจะต้องปรับเปลี่ยนทั้งในส่วนระบบฮาร์ดแวร์และระบบประยุกต์ให้มีความทันสมัย อยู่ตลอดเวลาเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของการดำเนินธุรกิจภายใต้ยุกต์โลกาภิวัตน์
                2.กระบวนการจัดการ
                2.1 การวางแผน   จะต้องสอดคล้องกับแผนกลยุทธ์องค์การ โดยพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ
                2.2 การจัดโครงสร้าง    การจัดโครงสร้างของหน่วยงานของนหน่วยงานด้านสารสนเทศอาจอยู่ในรูปของศูนย์คอมพิวเตอร์หรือฝ่ายระบบสารสนเทศ มีการกำหนดตัว ผู้รบริหารระดับสูงให้ดำรงตำแหน่งเพื่อควบคุมดูแลการทำการของบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
                2.3การจัดลำดับงาน   เป็นเป้าหมายของการพัฒนาระบบ มักจะมีความสำคัญแต่งต่างกันจึงจำเป็นต้องจัดลำดับ ก่อน-หลัง ของระบบที่ต้องการพัฒนาตามความเป็น
                2.4  การควบคุม การควบคุมดูแลจะประกอบการมาตรฐานของอุปกรณ์ การพัฒนาระบบ การปฏิบัติ ความมั่นคงของระบบรวมทั้งการงบประมาณในส่วนของการจัดระบบสารสนเทศ
                2.5การสั่งการ ครอบคลุมถึงงานทุกด้านของระบบสารสนเทศ ภายใต้การสั่งการของผู้บริหารสำหรับการดำเนินธุรกิจอย่างราบรื่น ซึ่งปราศจากอุปสรรคใดๆ ทั้งสิ้น เป็นงานที่อาศัยประสบการณ์และความสามารถทางด้านสือสารของผู้บริหารอย่างจริง
                2.6 การรายงาย เป็นหน้าที่หน่วยงานด้านสารสนเทศ ในการจัดทำรายงานสรุปเสนอต่อผู้บริหารระดับสูง
                2.7 การจัดทำงบประมาณ โดยมีการคาดคะเนค่าจ่าย เพื่อการเสนองบประมาณค่าใช้จ่ายด้านต่างๆทั้งค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นครั้งเดียวและค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นประจำ หลังจากนั้นจึงควบคุมค่าใช้จ่ายในการดำเนินให้เป็นตามงบประมาณที่ตั้งไว้
                3.การจัดการทรัพยากรฮาร์ดแวร์
                4.การจัดการทรัพยากรซอฟต์แวร์
                5.การจัดการทรัพยากรข้อมูล
                6.การจัดการทรัพยากรระบบสื่อสารและเครือข่าย
                บุคลากรด้านสารสนเทศ
                1.หัวหน้าพนักงานสารสนเทศ (Chief  Information Officer :CIO) ผู้บริหารระดับสูงขององค์การ ซึ่งมีหน้าที่ควบคุมดูแลงานด้านบริหารและระบบสารสนเทศและมีหน้ารับผิดชอบการวางแผน การกำหนดนโยบายการควบคุมปฏิบัติงาน
                2.นักวิเคราะห์ระบบ(System Analyst :SA) บุคลากรที่ทำหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบประยุทธ์ใช้งานในองค์การ
                3.ผู้เขียนคำสั่ง (Programmer) บุคลากรผู้ทำหน้าออกคำสั่ง เพื่อควบคุมงานปฏิบัติในระบบต่างๆ
                4.ผู้ควบคุมคอมพิวเตอร์ (Computer Opertor) บุคลากรผู้ทำหน้าที่ดูแลและควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์
                5.ผู้จัดตารางเวลา (Scheduler) บุคลากรผู้ทำหน้าที่จัดสรรเวลาใช้เครื่องให้กับงานแต่ละงาน        
                6.บรรณารักษ์ (Libearian) บุคลากรที่ทำหน้าที่เก็บรักษาสื่อบันทึกซึ่งใช้ จัดเก็บข้อมูลและชุดคำสั่งระบบงาน  มีการจัดรายการและดรรชนี เพื่อให้การค้นหาข้อมูลเป็นไปอย่างรวดเร็ว
                7.พนักงานบันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) บุคลากร ผู้ทำหน้าที่นำข้อมูลจากเอกสารเบื้องต้นมาจัดให้มาอยู่ในรูปแบบที่ส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้
                สรุป
                การพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นแนวทางหนึ่งของการได้มาซึ่งระบบสารสนเทศไว้ใช้งานภายในองค์ธุรกิจ โดยเริ่มต้นจากวางแผนระบบสารสนเทศ  เพื่อกำหนดถึงแผนกลยุทธ์ด้านระบบสารสนเทศที่สอดคล้องกับกลยุทธ์กิจ จึงทำการคัดเลือกเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมและนำมาใช้เพื่อปัญหาการดำเนินทางธุรกิจ  สร้างโอกาสทางธุรกิจ และธำรงรักษาความได้เปรียบทางการแข่งขังทางธุรกิจ ทำการพัฒนาระบบขึ้นใช้งานภาพในองค์การหรือจัดจ้างองค์การภายนอกให้พัฒนาระบบให้ตามที่ต้องการ
      

แบบฝึกหัดบทที่ 2 เรื่องระบบสารสนเทศ

1. จากส่วนประกอบทั้ง 7 ส่วนของสารสนเทศ ส่วนใดที่ถือเป็นแหล่งจัดเก็บข้อมูลของระบบสารสนเทศ
ตอบ การจัดการฐานข้อมูล หรือฐานข้อมูลขององค์การ คือ หน่วยเก็บข้อมูลทางกายภาพสำหรับข้อมูลที่อาจมีความเกี่ยวข้องและไม่เกี่ยวข้องกับการเงิน
2. ในส่วนผลป้อนกลับของระบบสารสนเทศ ก่อให้เกิดประโยชน์ในอนาคตของการจัดการระบบสารสนเทศอย่างไร
ตอบ ผลป้อนกลับ (feedback) จะอยู่ในรูปแบบรายงานที่เป็นผลลัพธ์ ซึ่งถูกส่งกลับไปยังระบบในฐานะของต้นทางข้อมูลภายในหรือภายนอกก็ได้ เช่น รายงานแสดงสถานะของสินค้าคงเหลือ จะถูกใช้เพื่อส่งสัญญาณให้เจ้าหน้าที่ผู้ควบคุมสินค้าคงเหลือทราบยอดสินค้าคงเหลือที่ขาดหายไปหรือยอดคงเหลือของสินค้าที่ต่ำกว่า
3. หากท่านดำเนินธุรกิจร้านมินิมาร์ทแห่งหนึ่ง ท่านเลือกที่จะนำสารสนเทศประเภทใดบ้างมาใช้ในธุรกิจ เพราะเหตุใด
ตอบ จะใช้ระบบสารสนเทศตามหน้าที่งาน ในส่วนนี้จะเป็นการรองรับการทำงานของแผนกต่างๆ ซึ่งจำแนกความรับผิดชอบตามหน้าที่งานขององค์การ อาทิ เช่น หน้าที่งานด้านการจัดการและการตัดสินใจ หน้าที่งานด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ หน้าที่งานด้านการผลิตและดำเนินงาน หน้าที่งานด้านการตลาด หน้าที่งานด้านการเงินและหน้าที่งานการบัญชี เป็นต้น ซึ่งเป็นประเภทที่มีการบริหารที่ครบทุกด้านเหมาะแก่การดำเนินธุรกิจร้านมินิมาร์ทอย่างยิ่ง
4. ระบบสารสนเทศถูกวางไว้ที่ตำแหน่งใดภายใต้โซ่คุณค่าขององค์กร จงอธิบาย
ตอบ องค์การต้องนำเสนอคุณค่าแก่ลูกค้าขององค์การโดยการเพิ่มคุณค่าของสินค้าหรือบริการ ซึ่งพร้อมส่งมอบให้ลูกค้าผ่านการดำเนินกิจกรรมทางธุรกิจต่างๆ เพื่อสร้างความพึงพอใจในการใช้สินค้าหรือบริการ
5. จงระบุถึงประโยชน์ที่องค์การจะได้รับภายใต้การใช้ระบบสารสนเทศที่ดี
ตอบ ถ้ามีระบบสารสนเทศที่ดีสิ่งที่จะได้รับต่อองค์การคือ การลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิผล ของการดำเนินงานในองค์การ และช่วยสร้างความได้เปรียบเชิงการแข่งขันและการจัดการเชิงผลการปฏิบัติงานได้ในองค์การ
6. จงอธิบายแนวโน้มของระบบสารสนเทศในอนาคต
ตอบ จะมีการขยายขีดความสามารถของเทคโนโลยีสารสนเทศ อีกทั้งมีการลดต้นทุนของระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยสนับสนุนงานภายในองค์การโดยใช้รูปแบบของระบบสารสนเทศบนเว็บรวมทั้งระบบเคลื่อนที่ โดยมีการพัฒนาระบบประยุกต์ผ่านทางอินเตอร์เน็ตและเปลี่ยนรูปแบบการค้าเข้าสู่รูปแบบของธุรกิจสู่ธุรกิจ

7. ระบบสารสนเทศประเทศใด ที่ถูกใช้เป็นเครื่องมือ ในการเชื่อมโยงโซ่คุณค่าขององค์การเข้ากับโซ่คุณค่าขององค์การภายนอก
ตอบ ประเทศไทย
8. จงอธิบายการเชื่อมโยงต่อระบบสารสนเทศระหว่างองค์การกับอีคอมเมิร์ซ
ตอบ อีคอมเมิร์ซใช้งานได้ง่ายและสามารถหลีกเลี่ยงฝูงชนภายในห้างสรรพสินค้า โดยทำการสั่งซื้อออนไลน์ ณ เวลาใด จากสถานที่ใดก็ได้ อีกทั้งมีการส่งมอบสินค้าถึงมือผู้รับโดยตรง
9. จงอธิบายการทำงานของคอมพิวเตอร์เคลื่อนที่และลูกจ้างเคลื่อนที่
ตอบ คือ ตัวอย่างระบบคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบสำหรับลูกจ้างเคลื่อนที่และอื่นๆซึ่งผู้ใช้ระบบมักเกิดความต้องการด้านการเชื่อมต่อเข้ากับระบบสารสนเทศขององค์การในทันที โดยใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ ตลอดจนสภาพแวดล้อมอื่นๆ ของคอมพิวเตอร์เคลื่อนที่
10. จงยกตัวอย่างระบบสารสนเทศบนเว็บที่มีการเชื่อมต่อกับระบบสารสนเทศอื่นมา 2 ตัวอย่าง
ตอบ          1.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ สำหรับ ธุรกิจภาคเอกชน
                                    2.ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์

สรุปแบบฝึกหัดบทที่ 2 เรื่องระบบสารสนเทศ

ความหมายระบบสารสนเทศ
                1. ระบบ
                พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ..  2545 (2546,หน้า 933) ได้ให้นิยามว่า ระบบ หมายถึง กลุ่มสิ่งซึ่งมีลักษณะประสานเข้าเป็นสิ่งเดียวกัน ระบบจักรวาล ระบบสังคม ระบบการบริหารประเทศ
                2.ระบบสารสนเทศ
                Hall (2004,p.7) ได้ให้นิยามว่า “ระบบสารสนเทศ” หมายถึง เซต หรือ การรวมตัวของกระบวนให้การหลายกระบวนการสำหรับเก็บรวบรวมข้อมูล การประผลเพื่อรูปแบบของข้อมูล เข้าสู่รูแบบสารสนเทศ ตลอดจนการกระจ่ายสารสนเทศที่เป็นผลลัพธ์จากการประมวลผลสู่ผู้ใช้ระบบเพื่อการตัดสินใจ
แบบจำลองระบบสารสนเทศ
                1.ผู้ขั้นปลาย
                ผู้ขั้นปลาย (End Users) ผู้ใช้สารสนเทศที่อยู่ในหน่วยงานต่างๆทั้งภายในและภายนอกธุรกิจประกอบด้วยผู้ใช้ 2 กลุ่ม
                กลุ่มที่1ผู้ใช้ภายนอก (external users)
                ประกอบ เจ้าเงินกู้ ผู้ถือหุ้นนักลงทุน ตัวแทนหรือนายหน้า  เจ้าหน้าที่ภาษีอากร ผู้ขายและลูกค้า ตลอดผู้ประเภทสถาบันการเงิน
                กลุ่มที่2ผู้ใช้ภายใน (intwenal users)
                ผู้บริหารระดับต่างๆขององค์การซึ่งมีหน้าที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติการโดยเน้นความต้องการสารสนเทศของผู้แต่ละรายเป็นสำคัญ
                2.ต้นทางข้อมูล
                ต้นทางข้อมูล(Data sources) หรือแหล่งข้อมูล ธุรกรรมทางการเงินที่นำเข้าระบบสารสนเทศประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน
                ส่วนที่1ต้นทางของข้อมูลภายนอก (External Data Sources) ธุรกรรมทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง หรือความเคลื่อนไหวของทรัพยากรภายในองค์การ
                3.การรวบรวมข้อมูล
                การรวบรวมข้อมูล(Data collection) เป็นขั้นตอนแรก ซึ่งมีความสำคัญที่สุดของการดำเนินการภายในระบบสารสนเทศ มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ด้านการข้อมูลหรือเหตุการณ์ต่างๆให้เข้าสู่ระบบให้ถูกต้อง ในการออกแบบกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล ควรจะคำนึงถึงข้อที่ตรงประเด็นและมีประสิทธิภาพในส่วนของการคัดเลือกข้อมูลที่ตรงประเด็นทำได้โดยวิเคราะห์ถึงความต้องการของผู้ใช้สารสนเทศเป็นหลักนำไปสู่ความไม่มีประสิทธิภาพของระบบ และความผิดพลาดด้านความตัดสินใจของผู้บริหารได้
               
                4. การประมูลผลของข้อมูล
                ต้องทำการประมวลผลของข้อมูล(Data processing) ทั้งในรูปแบบที่ง่ายและรูปแบบที่ซับซ้อน
จำแนกการประมวลผลได้ 2 รูปแบบ
                รูปแบบที่1 การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing)
                รูปแบบที่ 2 การประมวลผลแบบทันที (Real time processing)
                5.การจัดการฐานข้อมูล
                หน่วยเก็บข้อมูลทางกายภาพสำหรับข้อมูลที่เกี่ยวข้องและไม่เกี่ยวข้องกับการเงิน ซึ่งอาจจัดเก็บข้อมูลภายในตู้เอกสาร หรือแผ่นจานแม่เหล็กข้อมูลที่ถูกจัดเก็บในฐานข้อมูล จะประกอบด้วยหน่วยเก็บข้อมูลที่เรียกลำดับจากหน่วยเล็กที่สุดไปหาหน่วยใหญ่ที่สุด ลักษณะประจำ(Attribute)  ระเบียบ (Record)
และแฟ้มข้อมูล(File) ในส่วนการจัดฐานข้อมูล (Database Management)จะเกี่ยวข้องกับขั้นพื้นฐาน3งาน คือ การจัดเก็บ  การค้นคืน และ การลบ
                6.การก่อกำเนิดสารสนเทศ
                กระบวนการแปลงโปรแกรม การจัดข้อมูล การกำหนดรูปแบบ รวมทั้งการนำเสนอสารสนเทศต่อผู้ใช้ เช่น ใบสั่งขาย  รายงาน หรือแม้แต่ข่าวสารบนหน้าจอคอมพิวเตอร์
                7.ผลป้อนกลับ
                รูปแบบของรายงานที่เป็นผลลัพธ์ ซึ่งถูกส่งกลับไปยังระบบของในฐานะของต้นทางข้อมูลภายในหรือภายนอกยังอาจถูกส่งไปใช้ในฐานะข้อเริ่มต้นหรือข้อมูลสำหรับปรับเปลี่ยนกระบวนการ
                บทบาทของระบบสารสนเทศ
                1.โซ่คุณค่า
                จะประกอบด้วยกิจกรรมหลักของการจัดการต้นทางการผลิต และการจัดการตามทางในส่วนของการผลิตสินค้าและการบริการ
                2.ระบบคุณค่า
                จะเป็นการเชื่อมโยงกิจกรรมภายใต้โซ่คุณค่าทั้งภายในและภายนอกองค์ ภายใต้รูปแบบโซ่อุปทานใช้ระบบสารสนเทศเป็นเครื่องมือเชื่อมต่อโซ่คุณค่าขององค์การกับโซ่คุณค่าขององค์ภายนอกซึ่งเป็นคู่เข้าด้วยกัน
                3.การสนับสนุนงานของการ
                3.1 การสนับสนุนกระบวนการทางธุรกิจ
                3.2 การสนับสนุนการตัดสินใจ
                3.3 การสนับสนุนความได้เปรียบเชิงการแข่งขัน
                4.การเพิ่มมูลค่าให้องค์กร


ระบบสารสนเทศบนเว็บ
                1.อินเทอร์เน็ต
                ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายทั่วโลก          
                2.อินทราเน็ต
                ในส่วนแนวคิดของอินทราเน็ตมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับองค์การและอินเทอร์เน็ตซึ่งอินทราเน็ต การใช้เทคโนโลยีเว็บสำหรับการสร้างเครือข่ายส่วนตัว มักถูกจำกัดงานเฉพาะภายองค์การ โดยใช้เครือข่ายเฉพาะที่หรือระบบแลน ร่วมกับโพรโทคอลทีซี/ไอพี
                3.เว็บศูนย์วิสาหกิจ
                เว็บไซร์ที่ติดตั้งเกตเวย์  เพื่อควบคุมการเข้าถึงสารสนเทศของบริษัทจากจุดเพียงจุดเดียว
                4.เอกซ์ทราเน็ต
                เอกซ์ทราเน็ตถูกเชื่อมต่อกับอินทราเน็ตผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยมักมีการเสริมกลไกด้านความมั่นคงทางอินเทอร์เน็ตและฟังก์ชันงานเท่าเป็นไปได้ตลอดจนมีการสร้างรูปแบบเครือเสมือนจริง
                5.ระบบอีคอมเมิร์ซบนเว็บ
                มีความเกี่วยกับธุรกิจต่างๆซึ่งขึ้นใต้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ทั้งรูปแบบของธุรกิจสู่ธุรกิจ (B2B) ธุรกิจสู่ผู้บริโภค (B2C) ผู้บริโภคสู่ผู้บริโภค (C2C) ธุรกิจสู่หน่วยสาธารณะตลอดจนผู้บริโภคสู่หน่วยสาธารณะ
                6.ตลาดอิเล็กทรอนิกส์
                ในการถึงข้อมูลในเว็บของตลาดอิเล็กทรอนิกส์ได้มีการแพร่กระจ่ายอย่างรวดเร็วในฐานะตัวขับเคลือนด้านการประกอบธุรกิจทางอีคอมเมิร์ซ ซึ่ง  Turban et al .(2006,p.73) ได้ให้นิยามไว้ว่า ตลาดอิเล็กทรอนิกส์
                7.การเปลี่ยนอิเล็กทรอนิกส์
                สถานที่ซื้อข่ายสาธารณะบนที่ผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมากมีการโต้ตอบกันแบบพลวัตและยังสถานประกอบการค้าสำหรับโภคภัณฑ์
                8.คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่และการพาณิชย์เคลื่อนที่
                ตัวอย่างระบบคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบสำหรับลูกจ้างเคลื่อนที่และอื่นๆซึ่งผู้ใช้ระบบมักเกิดความต้องการด้านการเชื่อมต่อเข้าระบบสารสนเทศองค์การในทันที โดยใช้อุปกรณ์ที่ ตลอดจนสถานแวดล้อมอื่นๆ ของคอมพิวเตอร์