วันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

สรุปแบบฝึกหัดบทที่ 2 เรื่องระบบสารสนเทศ

ความหมายระบบสารสนเทศ
                1. ระบบ
                พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ..  2545 (2546,หน้า 933) ได้ให้นิยามว่า ระบบ หมายถึง กลุ่มสิ่งซึ่งมีลักษณะประสานเข้าเป็นสิ่งเดียวกัน ระบบจักรวาล ระบบสังคม ระบบการบริหารประเทศ
                2.ระบบสารสนเทศ
                Hall (2004,p.7) ได้ให้นิยามว่า “ระบบสารสนเทศ” หมายถึง เซต หรือ การรวมตัวของกระบวนให้การหลายกระบวนการสำหรับเก็บรวบรวมข้อมูล การประผลเพื่อรูปแบบของข้อมูล เข้าสู่รูแบบสารสนเทศ ตลอดจนการกระจ่ายสารสนเทศที่เป็นผลลัพธ์จากการประมวลผลสู่ผู้ใช้ระบบเพื่อการตัดสินใจ
แบบจำลองระบบสารสนเทศ
                1.ผู้ขั้นปลาย
                ผู้ขั้นปลาย (End Users) ผู้ใช้สารสนเทศที่อยู่ในหน่วยงานต่างๆทั้งภายในและภายนอกธุรกิจประกอบด้วยผู้ใช้ 2 กลุ่ม
                กลุ่มที่1ผู้ใช้ภายนอก (external users)
                ประกอบ เจ้าเงินกู้ ผู้ถือหุ้นนักลงทุน ตัวแทนหรือนายหน้า  เจ้าหน้าที่ภาษีอากร ผู้ขายและลูกค้า ตลอดผู้ประเภทสถาบันการเงิน
                กลุ่มที่2ผู้ใช้ภายใน (intwenal users)
                ผู้บริหารระดับต่างๆขององค์การซึ่งมีหน้าที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติการโดยเน้นความต้องการสารสนเทศของผู้แต่ละรายเป็นสำคัญ
                2.ต้นทางข้อมูล
                ต้นทางข้อมูล(Data sources) หรือแหล่งข้อมูล ธุรกรรมทางการเงินที่นำเข้าระบบสารสนเทศประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน
                ส่วนที่1ต้นทางของข้อมูลภายนอก (External Data Sources) ธุรกรรมทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง หรือความเคลื่อนไหวของทรัพยากรภายในองค์การ
                3.การรวบรวมข้อมูล
                การรวบรวมข้อมูล(Data collection) เป็นขั้นตอนแรก ซึ่งมีความสำคัญที่สุดของการดำเนินการภายในระบบสารสนเทศ มุ่งเน้นวัตถุประสงค์ด้านการข้อมูลหรือเหตุการณ์ต่างๆให้เข้าสู่ระบบให้ถูกต้อง ในการออกแบบกระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล ควรจะคำนึงถึงข้อที่ตรงประเด็นและมีประสิทธิภาพในส่วนของการคัดเลือกข้อมูลที่ตรงประเด็นทำได้โดยวิเคราะห์ถึงความต้องการของผู้ใช้สารสนเทศเป็นหลักนำไปสู่ความไม่มีประสิทธิภาพของระบบ และความผิดพลาดด้านความตัดสินใจของผู้บริหารได้
               
                4. การประมูลผลของข้อมูล
                ต้องทำการประมวลผลของข้อมูล(Data processing) ทั้งในรูปแบบที่ง่ายและรูปแบบที่ซับซ้อน
จำแนกการประมวลผลได้ 2 รูปแบบ
                รูปแบบที่1 การประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch processing)
                รูปแบบที่ 2 การประมวลผลแบบทันที (Real time processing)
                5.การจัดการฐานข้อมูล
                หน่วยเก็บข้อมูลทางกายภาพสำหรับข้อมูลที่เกี่ยวข้องและไม่เกี่ยวข้องกับการเงิน ซึ่งอาจจัดเก็บข้อมูลภายในตู้เอกสาร หรือแผ่นจานแม่เหล็กข้อมูลที่ถูกจัดเก็บในฐานข้อมูล จะประกอบด้วยหน่วยเก็บข้อมูลที่เรียกลำดับจากหน่วยเล็กที่สุดไปหาหน่วยใหญ่ที่สุด ลักษณะประจำ(Attribute)  ระเบียบ (Record)
และแฟ้มข้อมูล(File) ในส่วนการจัดฐานข้อมูล (Database Management)จะเกี่ยวข้องกับขั้นพื้นฐาน3งาน คือ การจัดเก็บ  การค้นคืน และ การลบ
                6.การก่อกำเนิดสารสนเทศ
                กระบวนการแปลงโปรแกรม การจัดข้อมูล การกำหนดรูปแบบ รวมทั้งการนำเสนอสารสนเทศต่อผู้ใช้ เช่น ใบสั่งขาย  รายงาน หรือแม้แต่ข่าวสารบนหน้าจอคอมพิวเตอร์
                7.ผลป้อนกลับ
                รูปแบบของรายงานที่เป็นผลลัพธ์ ซึ่งถูกส่งกลับไปยังระบบของในฐานะของต้นทางข้อมูลภายในหรือภายนอกยังอาจถูกส่งไปใช้ในฐานะข้อเริ่มต้นหรือข้อมูลสำหรับปรับเปลี่ยนกระบวนการ
                บทบาทของระบบสารสนเทศ
                1.โซ่คุณค่า
                จะประกอบด้วยกิจกรรมหลักของการจัดการต้นทางการผลิต และการจัดการตามทางในส่วนของการผลิตสินค้าและการบริการ
                2.ระบบคุณค่า
                จะเป็นการเชื่อมโยงกิจกรรมภายใต้โซ่คุณค่าทั้งภายในและภายนอกองค์ ภายใต้รูปแบบโซ่อุปทานใช้ระบบสารสนเทศเป็นเครื่องมือเชื่อมต่อโซ่คุณค่าขององค์การกับโซ่คุณค่าขององค์ภายนอกซึ่งเป็นคู่เข้าด้วยกัน
                3.การสนับสนุนงานของการ
                3.1 การสนับสนุนกระบวนการทางธุรกิจ
                3.2 การสนับสนุนการตัดสินใจ
                3.3 การสนับสนุนความได้เปรียบเชิงการแข่งขัน
                4.การเพิ่มมูลค่าให้องค์กร


ระบบสารสนเทศบนเว็บ
                1.อินเทอร์เน็ต
                ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายทั่วโลก          
                2.อินทราเน็ต
                ในส่วนแนวคิดของอินทราเน็ตมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับองค์การและอินเทอร์เน็ตซึ่งอินทราเน็ต การใช้เทคโนโลยีเว็บสำหรับการสร้างเครือข่ายส่วนตัว มักถูกจำกัดงานเฉพาะภายองค์การ โดยใช้เครือข่ายเฉพาะที่หรือระบบแลน ร่วมกับโพรโทคอลทีซี/ไอพี
                3.เว็บศูนย์วิสาหกิจ
                เว็บไซร์ที่ติดตั้งเกตเวย์  เพื่อควบคุมการเข้าถึงสารสนเทศของบริษัทจากจุดเพียงจุดเดียว
                4.เอกซ์ทราเน็ต
                เอกซ์ทราเน็ตถูกเชื่อมต่อกับอินทราเน็ตผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยมักมีการเสริมกลไกด้านความมั่นคงทางอินเทอร์เน็ตและฟังก์ชันงานเท่าเป็นไปได้ตลอดจนมีการสร้างรูปแบบเครือเสมือนจริง
                5.ระบบอีคอมเมิร์ซบนเว็บ
                มีความเกี่วยกับธุรกิจต่างๆซึ่งขึ้นใต้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ทั้งรูปแบบของธุรกิจสู่ธุรกิจ (B2B) ธุรกิจสู่ผู้บริโภค (B2C) ผู้บริโภคสู่ผู้บริโภค (C2C) ธุรกิจสู่หน่วยสาธารณะตลอดจนผู้บริโภคสู่หน่วยสาธารณะ
                6.ตลาดอิเล็กทรอนิกส์
                ในการถึงข้อมูลในเว็บของตลาดอิเล็กทรอนิกส์ได้มีการแพร่กระจ่ายอย่างรวดเร็วในฐานะตัวขับเคลือนด้านการประกอบธุรกิจทางอีคอมเมิร์ซ ซึ่ง  Turban et al .(2006,p.73) ได้ให้นิยามไว้ว่า ตลาดอิเล็กทรอนิกส์
                7.การเปลี่ยนอิเล็กทรอนิกส์
                สถานที่ซื้อข่ายสาธารณะบนที่ผู้ซื้อและผู้ขายจำนวนมากมีการโต้ตอบกันแบบพลวัตและยังสถานประกอบการค้าสำหรับโภคภัณฑ์
                8.คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่และการพาณิชย์เคลื่อนที่
                ตัวอย่างระบบคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบสำหรับลูกจ้างเคลื่อนที่และอื่นๆซึ่งผู้ใช้ระบบมักเกิดความต้องการด้านการเชื่อมต่อเข้าระบบสารสนเทศองค์การในทันที โดยใช้อุปกรณ์ที่ ตลอดจนสถานแวดล้อมอื่นๆ ของคอมพิวเตอร์

                 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น